เชียงดา

ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์

เมนูอาหารผักยืนต้น

ผักเชียงดาเป็นที่นิยมในภาคเหนือของไทย ยอดอ่อนมีรสมันติดขมเล็กน้อย กินสดกับลาบ กับน้ำพริก หรือทำมาแกงกับปลาแห้ง นิยมใส่ในแกงร่วมกับผักอื่นๆ เช่น แกงบะหนุน แกงแค แกงรวทกับผักหลายชนิดช่วยให้แกงกลมกล่อม นิยมกินยอดเชียงดาหน้าแล้งเพราะมีรสชาติดีกว่าช่วงอื่นๆ ปัจจุบันนิยมนำมาแปรรูปเป็นชาดื่มเพื่อลดน้ำตาลในเลือดอีกด้วย

จากหนังสือ 50 สูตรอร่อยกับผักยืนต้น จาก 8 พื้นที่ความมั่นคงทางอาหาร หน้า 63

ข้อมูลทางโภชนาการ

คุณค่าทางโภชนาการของผักเชียงดา 100 กรัม ประกอบไปด้วย

พลังงาน 60 แคลอรีโปรตีน 5.4 กรัม
ไขมัน 1.5 กรัม
คาร์โบไฮเดรต 6.2 กรัม
ใยอาหาร 2.5 กรัม
วิตามินเอ 5,905 หน่วยสากล
วิตามินบี 1 981 มิลลิกรัม
วิตามินบี 2 0.32 มิลลิกรัม
วิตามินบี 3 1 มิลลิกรัม
วิตามินซี 153 มิลลิกรัม
แคลเซียม 78 มิลลิกรัม
ธาตุเหล็ก 2.3 มิลลิกรัม
ฟอสฟอรัส 98 มิลลิกรัม
ไนอะซีน 1 มิลลิกรัม
เบต้าแคโรทีน 5,905 ไมโครกรัม

สรรพคุณทางยา

การใช้ประโยชน์อื่นๆ